การบรรยายพิเศษ (Keynote Speaker) ในการประชุมวิชาการวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 16 (ECTI-CARD 2024) เรื่อง การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 : การท้าทายและโอกาส
ณ โรงแรมทองธารินทร์ จ.สุรินทร์ จัดโดย จัดโดย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สมาคมวิชาการ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคมและสารสนเทศประเทศไทย และสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
>> ผลงานที่ผ่านมา - เป็นแพทย์รุ่นแรกของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาขานิติเวชศาสตร์
>> - เป็นผู้ริเริ่มนำระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในระบบงานนิติเวชวิทยาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539
>> - เป็น CIO กำกับการบริหารราชการสั่งในงานระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลตำรวจ
>> - กำกับการบริหารราชการสั่งในงานกองบังคับการอำนวยการ โรงพยาบาลตำรวจ
>> - เป็นกรรมการ Quality Assurance & Standards Committee ของ Asian Forensic Sciences Network
>> - เป็นกรรมการจัดงานประชุมสัมมนาวิชาการนานาชาติทางนิติวิทยาศาสตร์ ระดับเอเชีย - แปซิฟิก
>> - เป็นกรรมการ สมาคมไทย – ออสเตรเลีย ในพระราชูปถัมถ์ของพระบรมโอรสาธิราช
Abstract “ ปัญญาประดิษฐ์สำหรับการเกษตรแม่นยำในประเทศไทย โอกาสและความท้าทาย ”
การเกษตรแม่นยำคือการเกษตรที่อาศัยเทคโนโลยีดิจิทัลมาจัดการข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องจากกับการเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และ/หรือเพิ่มคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรแบบต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์ ก็เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจนำมาใช้ในการเกษตรแบบแม่นยำ และได้มีงานวิจัยหลากหลายที่ศึกษาการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้แก้ปัญหาทางการเกษตรต่างๆหลากหลาย อย่างไรก็ตามในพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในการเกษตร จำเป็นต้องมีการว่างแผนจัดการและพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำ คือการหาข้อมูลภาคพื้นดินที่ถูกต้อง ไปจนถึงปลายน้ำ คือการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ที่ประสบความสำเร็จเชิงธุรกิจด้วย ดังนั้นระบบปัญญาที่จะพัฒนาขึ้นต้องสามารถเข้าใจถึงวิถีชีวิตของเกษตรกรไทย และสามารถตอบสนองความต้องการของเกษตรกร และยังสามารถความร่วมมือในขบวนการต่างๆอีกด้วย ตัวอย่างปัญหาในการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการเกษตรแม่นยำเช่นการระบุโรคในพืชจากภาพที่ถ่ายจากมือถือเกษตรกรจะถูกนำเสนอ โดยจะแสดงให้เป็นถึงปัญหาที่พบในการได้มาของข้อมูล การพัฒนาฐานข้อมูลที่ใช้ในการสอนปัญญาประดิษฐ์ที่ประสบคือการได้ข้อมูลมาไม่เพียงพอหรือได้ข้อมูลที่สมบูรณ์อยู่บ่อยครั้ง และแนวทางการการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ภายใต้ข้อจำกัดเหล่านี้ สุดท้ายจะนำเสนอให้เห็นถึงการนำปัญญาประดิษฐ์ ไปใช้กับเกษตรไทยในรูปแบบที่เกษตรไทยสามารถนำไปใช้ได้อย่างแพร่หลาย
>> ดำรงตำแหน่ง กรรมการสมาคมปัญญาประดิษฐ์และประธานด้านการเกษตร
อีกทั้งยังได้เปิดบ้านจันทร์โสมาให้เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการทอผ้า การย้อมสีธรรมชาติ และการงานช่างไทยหลายแขนง อาทิ งานปักพัสตราภรณ์ งานช่างแกะสลัก งานช่างเครื่องทองลงยาราชาวดีเป็นต้น นับเป็นผู้ที่อุทิศตนเพื่อสืบสานงานช่างโดยแท้จริง
อาจารย์วีรธรรม ตระกูลเงินไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญในงานเชิงช่างหลายแขนง สามารถผสานมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวเขมรถิ่นไทย รื้อฟื้นงานหัตถศิลป์ผ้าทอยกทองโบราณของราชสำนัก เสริมสร้างเอกลักษณ์ภูมิปัญญาของชาติได้อย่างงดงาม อีกทั้งยังสามารถสร้างให้ชุมชนบ้านท่าสว่างเป็นหมู่บ้านผ้าทอที่เป็นที่รู้จักไปทั่วโลกทำให้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนดีขึ้นมาเป็นลำดับ จึงสมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขาทัศนศิลป์ (หัตถกรรมผ้าทอมือ) ประจำปี ๒๕๕๗ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป